วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559

ประวัติผู้จัดทำ



ชื่อนางสาวสุญานิล  เจ๊ะมามะ
รหัส  052      ห้อง  2/58
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การเก็บรักษา

     เสื่อที่สานเสร็จเรียบร้อยแล้วจะถูกเก็บไว้ในที่ร่มไม่ให้ถูกน้ำเพราะถ้าถูกน้ำ จะทำให้เกิดเชื้อราและ     เสียหายเร็ว วิธีเก็บมี 2 แบบ คือ ม้วนเก็บและซ้อนเก็บ





วิธีการทำ


         ขั้นตอนที่ 1   เป็นขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ คือ การนำเอา    ต้นกระจูดขนาดต่าง   มาตัดให้เท่ากัน  เพื่อ  ความสวยงามของเสื่อกระจูด        




      ขั้นตอนที่  2  นำไปตากแดด แบบกระจายเรียงเส้น เพื่อกระจูด  จะได้แห้งเร็วและทั่วลำต้น 





        ขั้นตอนที่  3  นำกระจูดไปรีด โดยใช้ไม้ไผ่




  ขั้นตอนที่ 4  การสานเสื่อกระจูด  คือการนำต้นกระจูดที่เตรียมไว้  เรียบร้อยแล้วมาสานเป็นเสื่อกระจูด  เริ่มต้นจากริม คือ  ตั้งต้นจากปลายด้านใดด้านหนึ่งไปจนสุดปลายตออีก ด้านหนึ่ง  สานต่อไปเรื่อยๆ  จนได้รูปร่าง




รูปภาพตอนไกล้เสร็จ

รูปภาพตอนเร็จแล้ว

วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559

วัสดุอุปกรณ์


            1.  เตยหนาม

            2.  ไม้ไผ่สำหรับรีด

            3.  กรรไกร หรือมีด ตัดหนวด

            4.  เส้นใยมะพร้าว



ประโยชน์ของใบเตยหนาม

        นื่องจากเส้นใบมีคุณสมบัติเหมาะที่จะนำมาทำสานผลิตภัณฑ์ต่างๆ เตยหนามจะมีประโยชน์ในการนำส่วนของใบมาจักสานและมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ แล้วยังสามารถนำส่วนต่างๆของต้นเตยหนามผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้จากการจักสานมาผสมกับเศษวัสดุ  เช่น  มูลวัว  เปลือกยางพารา  น้ำยางพารา  ดินเหนียว  เพื่อทำเป็นแท่งเชื้อเพลิงชีวภาพนำมาทดแทนพลังงานธรรมชาติและลดการทำลายป่าอีกด้วย